อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
การสอนเด็กพิเศษและเด็กปกติ
การฝึกเพิ่มเติม
การอบรมระยะสั้น
สื่อต่างๆ เช่น เพจตามเหสบุ๊ค
การเข้าใจภาวะปกติ
เด็กคล้ายคลึงกันมากกว่าแตกต่าง
ครูต้องเรียนรู้มีปฏิสัมพันธ์กับเด็กปกติและเด็กพิเศษ
รู้จักเด็กแต่ละคน
มองเด็กให้เป็นเด็ก
การคัดแยกเด็กที่มีพัฒนาการช้า
ช่วยให้ครูมองเห็นความแตกต่างของเด็กได้ง่ายขึ้น บันทึกพฤติกรรมเด็กแต่ละคนเพื่อนำไปเขียนแผน IEP
ความพร้อมของเด็ก
วุฒิภาวะ
แรงจูงใจ
โอกาส
การสอนโดยบังเอิญ (เด็กพิเศษจะชอบมาก)
เมื่อเด็กเกิดความสงสัย เช่น เล่นตามมุม มุมวิทยาศาสตร์
ครูต้องพร้อมที่จะพบเด็ก
ครุต้องมีความสนใจเด็ก
ครูต้องมีความรู้สึกที่ดีต่อเด็ก
ครูต้องมีอุปกรณ์และกิจกรรมล่อใจเด็ก
ครูต้องมีความตั้งใจจริง
ครูต้องใช้เวลาไม่นาน
ครูต้องทำเป็นเรื่องที่สนุกสนาน
อุปกรณ์
เป็นของเล่นไม่ตายตัว
ตารางประจำวัน
เด็กพิเศษไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่เป็นอยู่ประจำ คือ จันทร์เหมือนจันทร์ อังคารเหมือนอังคาร
ต้องเรียงลำดับเป็นขั้นตอน
รู้สึกปลอดภัย
คำนึงเวลาที่พอเหมาะ
ความยืดหยุ่น
แผนสามารถยืดหยุ่นได้ตลอดเวลา ไม่ต้องสอนตามแผนที่เขียนไว้หมดทุกอย่างก็ได้
การใช้สหวิทยาการ
ใจกว้างต่อคำแนะนำของอาชีพอื่นๆ
สร้างความสะชัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมกับการบำบัด
เด็กทุคนสอนได้
เด็กเรียนไม่ได้เพราะขาดโอกาสมากกว่าไร้ความสามารถ
เทคนิคการใช้แรงเสริม
แรงเสริมทางสังคมจากผู้ใหญ่
ความสนใจที่มีต่อเด็กสำคัญมาก
มีแนวโน้มจะเพิ่มพฤติกรรมที่ดีของเด็ก
หากผู้ใหญ่ไม่สนใจพฤติกรรมที่ดี พฤติกรรมที่ดีอาจจะลดลงและหายไป
วิธีแสดงออกถึงแรงเสริม
วาจา
ยืนหรือนั่งใกล้ๆเด็ก
พยักหน้ารับ ยิ้ม ฟัง
สัมผัสทางกาย
ให้ความช่วยเหลือ ร่วมกิจกรรมกับเด็ก
หลักการให้แรงเสริม
ให้พฤติกรรมที่เด็กทำดี
ให้ทันที
ละเว้นความสนใจทันทีและทุกครั้งที่เด็กแสดงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
ให้ความสนใจเด็กนานเท่าที่เด็กมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
การแนะนำหรือบอกบท
ย่อยงาน
ลำดับความยากง่าย
การลำดับงานเป็นการเสริมแรงเพื่อให้เด็กค่อยๆก้าวไปสู่ความสำเร็จ
การบอกบทจะค่อยๆลดลงตามลำดับ
ขั้นตอนการใช้แรงเสริม
สังเกตและกำหนดจุดมุ่งหมาย
วิเคราะห์งาน กำหนดจุดประสงค์ย่อยๆในงานแต่ละขั้น
สอนจากง่ายไปสู่ยาก
ให้แรงเสริมทันทีเมื่อเด็กทำ
ลดการบอกบท
ให้แรงเสริมพฤติกรรมที่ใกล้เคียงเป้า
การกำหนดเวลา
จำนวนและความถี่ของแรงเสริมที่ให้กับพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กต้องมีความเหมาะสม
ความต่อเนื่อง
พฤติกรรในชีวิตต่อเนื่องกันระหว่างพฤติกรรมย่อยๆหลายๆอย่างรวมกัน
สอนแบบก้าวไปข้างหน้า หรือน้อยมาากข้างหลัง
เด็กตักซุป
การจับช้อน
การตัก
ระวังไม่ให้ช้อนหกก่อนเข้าปาก
เอาช้อนและซุปเข้าปากแทนที่จะให้หกรดคาง
เอาซุปออกจากช้อนเข้าสู้สู่ปาก
การลดหรือหยุดแรงเสริม
ครูจะงดแรงเสริมกับเด็กที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
ทำอย่างอื่นและไม่สนใจเด็ก
เอาอุปกรณ์หรือของเล่นออกจากเด็ก
เอาเด็กออกจากของเล่น
ความคงเส้นคงวา
ต้มเทอมเป็นอย่างไรกลางเทอมและท้ายเทอมต้องเป็นอย่างต้นเทอม
การนำไปใช้
สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนในอนาคตได้
ประเมินอาจารย์
อาจารย์สอนได้อย่างเข้าใจและยกตัวอย่างได้อย่างสนุกสนาน
ประเมินตนเอง
มีคุยกับเพื่อนบ้างแต่ก็เรียนได้อย่างเข้าใจ
ประเมินเพื่อน
มีคุยกันบ้างแต่ทุกคนก็เข้าใจในสิ่งที่เรียน